วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556

ใบงานครั้งที่  11
วันที่  06/09/2556
เวลา 08.30 - 11.00 น.





กิจกรรมนี้ เป็นการสร้งสื่อขึ้น เพื่อนนำสื่อที่ได้ไปใช้ในการเรียนการสอน       






อุปกรณ์
กระดาษ
สี
ปากกาเมจิ
ขั้นตอนการทำ
กำหนดสื่อที่เราจะทำขึ้น เริ่มจากขั้นตอนการลง มือวาดสื่อ ตกแต่งสื่อให้สวยงาม แล้วอธิบายให้เพื่อนๆถึงวิธีการใช้สื่อว่านำไปใช้กับเด็กอย่างไร
ประโยชน์ ที่ได้รับ
เด็กก็จะสามารถฝึกการสังเกต
ฝึกการนับเลข
ฝึกการนับจำนวนสัตว์ ต่างๆ
ใบงานครั้งที่ 8
วันที่ 9/08/56
เวลา 08.30 - 11.00 น.


กิจกรรมนี้ ได้รับมอบหมายให้ทำ ธงชาติในประเทศอาเซียนแต่ละประเทศ
อุปรกรณ์
กระดาษสี ต่างๆ
ด้ายเอน
กระดาษแข็ง
 ขั้นตอนการทำ
ตกแต่งรูปแต่ละรูปที่ได้ นำธงชาติแต่ละสีมาใส่ หลังจากนั้นเจาะรูกระดาษเป็นเส้นตรงลงมานำด้ายเอนใส่ แล้วก็นำธงชาติใส่ ตกแต่งให้สวยงาม
กิจกรรมนี้สามารถสื่อถึงประเทศอาเซียนได้เป็นอย่างดี เด็กจะเข้าใจง่าย และสนุกกับการเรียน


 ใบงานครั้งที่ 9
วันที่ 23/08/56
เวลา 08.30 - 11.00 น.



การทำ รูปตั้งได้เพื่อจัดทำสื่อ สำหรับเด็ก 
อุปกรณ์
กระดาษ A4
สีไม้
ปากกาเมจิ


ขั้นตอนการทำ
พับกระด่ษเข้าหากัน หลังจากนั้นวาดรูปตัวการ์ตูนที่เราต้องการระบายสีให้สวยงาม ตกแต่ง ให้สวยงาม พอเสร็จตัดตามรอยที่ได้ ตกแต่ง แล้วเติมคำศักท์ให้สวยงาม สื่อนี้ใช้ในการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ทำให้เด็กเข้าใจได้ง่าย และเข้าถึงคำศัพท์ได้ง่าย สนใจกับการเรียนสื่อแบบนี้มากกกว่าการเรียนแบบกิจกรรมที่เป็นวิชาการเกินไป



ใบงานครั้งที่10
วันที่  30/08/56
เวลา  08.30 - 11.00 น.
เริ่มลงมือวาด แม่หมูพ่อหมู และลูกหมู อิก 5 ตัว


เพื่อนๆ เริ่มลงมือช่วยกันระบายสี


ทำกิจกรรมนิทาน วาดรูป โดยช่วยกันแต่งเรื่องแต่ละเรื่อง คนละหัวข้อคนละบรรทัด  แล้วนำเอาเรื่องที่ได้มาแต่งเป็นนิทานโดยการแบ่งเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่ม นำเนื่องเรื่องคนละ 1 ตอนมาวาดรูปนิทาน "มีพ่อหมู แม่หมู  และลูกหมูอิก 5 ตัว" เป็นประโยคที่กลุ่มเราได้แล้วออกไปเสนอหน้าชั้นเรียนเล่าเป็นเรื่องราวต่อกับเพื่อนอิกกลุ่มอื่นๆ

วันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556


 ใบงานครั้งที่  7
  -วันที่  25/07/56
 -เวลา08.30-11.00













การประเมิน
1.การใช้เครื่องมือที่หลากหลาย
2.เน้นที่ความก้าวหน้าของเด็ก
 เช่น  บันทึกสิ่งที่เด็กทำว่าเด็กแต่ละวันมีการทำอะไรบ้างเพื่อนการสังเกตพฤติกรรมเด็กที่ง่ายยิ่งขึ้น
ทำให้สามารถส่งเสริมไปสู่การพัฒนาที่ดีทางภาษาในระดับหนึ่ง
3.ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย
4.การใหห้เด็กรู้จักประเมินตนเอ
5.ครูต้องใช้กระบวนการและผลงาน
6.ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล


ตัวอย่างกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะ
  *การเขียนอ่านตามคำบอก  อย่างคำในชีวิตประจำวันของเด็กที่เป็นประสบการณ์
  *การเขียน  หรือการจดบันทึก
  *การเล่านิทานให้เด็กฟัง  เพื่อนให้เด็กเกิดจินตนาการ และเกิดประสบการณ์ที่น่าจำ  และเด็กก็จะเกิดความสนใจมากยิ่งขึ้น
  *การเขียนประกาศเพื่อแจ้งข่าว ว่าแต่ละวันเกิดอะไรขึ้น  อย่างการพยากรณ์อากาศวันนี้อากาศเป็นอย่างไร เด็กจะได้รู้ถึงสภาพอากาศ
  *การหัดให้เด็ออ่านคำคล้องจอง เพื่อฝึกทักษะของลิ้นให้เกิดการขยับ
  *การร้องเพลง เป็นทักษะการสอนให้เด็กรู้จักหัดจำ
  *การเล่าสู่กันฟัง ว่าแต่ละวันให้เด็กๆออกมาเล่าแต่ละวันว่าไปเจออะไรมาบ้างเพื่อให้เด็กเกิดจินตนาการ




วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ใบงานที่  6
  เวลา  08.30 - 11.00
  วันที่  19/07/2556

เรียนเรื่อง  ธรรมชาติของเด็


1.  ธรรมชาติของเด็ก
  -สนใจอยากรู้อยากเห็น
  -ช่างสงสัย
  -มีความคิดสร้างสรรค์
 -ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
 -เลียนแบบคนรอบข้าง

2.  การสอนภาษาแบบธรรมชาติ

ทฤษฏีที่มีการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
-เด็กเรีนรู้ภาษาจากประสบการณ์
 -เด็กเรียนรู้จาการทำกิจกรรม
 -อิทธิพลของสังคมและบุคลลอื่นๆ

การสอนภาษาแบบธรรมชาติ
 -สอนแแบบบูรณาการองค์รวม
 -สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีอยู่ในชีวิตประจำวัน
 -สอนสิ่งใกล้ตัว
 -สอนสอดแทรกฝึกทักษะการพูดคิดอ่านเขียน
 -ไม่เข้มงวดกับการท่องตัวสะกด
 -ไม่บังคับให้เด็กเขียน

หลักการจัดสภาพแวดล้อม
 1. การจัดสภาพแวดล้อม
  -ตัวหนังสือที่ปรากฏอยู่ในห้องต้องมีเป้าหมาย
  - ตัวหนังสือจะเป็นตัวหนังสือที่ต้องใช้ภาษา
  -เด็กมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อม
2.การสื่อสารที่มีความหมาย
  -เด็กสื่อสารจากประสบการณ์จริง
  -เด็กอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
  -เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียน
3.การเป็นแบบอย่าง
  -ครูอ่านและเขียนโดยมีจุดมุ่งหมาย
  -ครูควรเป็นแบบอย่างที่ีให้เด็กเห็น
4.การตั้งความคาดหวัง
  -ครูเชื่อมั่นว่าเด็กสามารถในการอ่านเขียน
  -เด็กสามารถอ่านได้ดีและถูกต้องยิ่งขึ้น
5.การคาดคะเน
  -เด็กมีโอกาสที่จะทดลองกับภาษา
ไม่คาดหวังให้เด็กอ่านเขียนได้เหมือนผู้ใหญ่
6.การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
  -ตอบสนองในการใช้ข้อมูลในการใช้ภาษาของเด็ก
  -ยอมรับการอ่านและเขียนของเด็ก
  -ตอบสนองเด็กให้เหมาะสมกับสถานการณ์
7.การยอมรับนับถือ
  -เด็กมีความแตกต่างระหว่างบุคลล
  -เด็กเลือกกิจกรรมที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
  -ในช่วงเวลาเดียวกันเด็กไม่ต้องมีกิจกรรมได้อย่างเดียว
  -ไม่ทำกิจกรรมตามลำดับ
8.การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
  -ให้เด็กรู้สึกปลอดภัยในการใช้ภาษา
  -ครูจะต้องทำให้เด็กไม่กลัว
  -ไม่ตราหน้าเด็กว่าไม่มีความสามารถ
  -เด็กเชื่อมั่นว่าตนมีความสารถ

บทความครู
  ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
  ให้ประสบการณ์ตรงในการอ่านเขียน
  ครูควรยอมในความไม่ถูกต้อง
 ครูสร้างความสนใจในค่าและสิ่งพิมพ์


ผู้ถ่ายทอด        ผู้อำนวยความสะดวก      ผู้ร่วมทางการเรียนรู้ไปพร้อมๆเด็ก
  



ใบงานครั้งที่  3
  เวลา  08.30  - 11.00
  วันที่28/06/56
กิจกรรมวันไหว้ครู คณะศึกษาศาสตร์